วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2559

example2

เมื่อทำการเรียนใช้ฟังก์ชัน ตัวแปรที่ส่งเข้ามาในฟังก์ชันใช้สำหรับตรวจสอบว่าตัวนั้นเป็นจำนวนเฉพาะหรือไม่ y ทำหน้าที่ในการวนรอบ count ทำหน้าที่ วนหาตัวที่สามารถหารลงตัว

def prime(x):
 
    y = 2
    while x > y :
     
        print(x ,"%",y ,"= ",x%y)
        count = 2
     
        while x > count :
            if x%count == 0 :
                ans = "NP"
                break
            else:
                ans = "P"
             
            count += 1
         
        y += 1
     
    print(ans)
prime(7)




วันอาทิตย์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2559

example

ตัวอย่าง


การหาค่า ดัชนีมวลกาย รับค่าส่วนสูงและน้ำหนักจากแป้นพิมพ์  โดยมีเงือนไข ถ้า น้ำหนักเท่ากับศูนย์จะไม่คำนวน


wght = float(input("Enter weight :"))
if wght <= 10:
    print("light weight")
hght = float(input("Enter height :"))
if hght == 0 :
    print("It's impossoble")

hm = hght / 100
#print("height :",hm)
if hm == 0 :
    print("not calculate")
else :
    bmi = wght / hm**2 
    print(bmi)
    print("bye bye")






การหาเลขจำนวนเฉพาะ ตั้งแต่ 2 - 100 ว่ามีตัวไหนบ้าง


i = 2
while i < 100 :
    j = 2
    
    while j <= i :
        if i%j == 0 :
            break
        j += 1
    if j > i//j :
        print (i) 
    i += 1    




การหาว่าเลขดังกล่าวเป็น เลขจำนวนเฉพาะหรือไม่

a = 2
num = 14
while num > a :
  if num%a == 0 & a != num :
        print("not prime by :",a)
        a += 1
    
  else:
        print("prime")
        a = num + 1


a = 2
num = 17
while num > a :
  if num%a == 0 & a != num :
        print("not prime by :",a)
        a += 1
    
  else:
        print("prime")
        a = num + 1






หากเอาเงื่อนไข  a != num  ออก ได้หรือไม่


a = 2
num = 12
while num > a :
  if num%a == 0  :
        print("not prime by :",a)
        a += 1
 
  else:
        print("prime")
        a = num + 1

สามารถเอาออกได้ เพื่อคลอบคลุมเงื่อนไขที่ดีกว่า

เช่นในกรณีที่ ตัวสุดท้ายที่ต้องวนรอบ num%a == 0 (12%12 == 0) ก็จะไปเข้ากรณี else แทน


การเรียกใช้ฟังค์ชันที่มีการรับค่าตัวแปรเพื่อนำไปคำนวนในฟังก์ชัน


def number(b):
    a = 1
    while a <= b :
        print(a)
        a += 1
    return()
b = 20
#c = 15
number(b)
print("/////////")



การหาค่า factorial การเรียกใช้ฟังค์ชันที่มีการรับค่าตัวแปรเพื่อนำไปคำนวนในฟังก์ชัน เมื่อเราใช้คำสั่ง
print(factorial(3)) ก็จะนำค่าไปคำนวนในฟังก์ชัน แล้ว return ค่าออกมาแสดง



def factorial(n):
    count = 1
    for i in range(1, n + 1 ):
        count *= i
    return count

print(factorial(3))
print(factorial(5))




การหา ค่าสูงสุด จาก สาม ค่า โดยจะส่งค่าไปยังฟังกฺชัน max เพื่อเปรียบเทียบหาค่าที่มากว่ากันสองค่า
แล้วทำการ return ค่าออกไป เมื่อต้องการเปรียบเทียบ สาม ค่า ก็ทำซ้ำอีกรอบ นำเลขตัวที่สาม ไปเปรียบเทียบกับค่าที่ถูกส่งมาก่อนหน้านี้


def max(a, b):
    if a > b:
        return a
    else:
        return b

def max3(a, b, c):
    return max(max(a, b), c)

print(max3(3, 7, 12))



การหาค่าสูงสุด โดยรับค่ามาจากแป้นพิมพ์

def max(a, b):
    if a > b:
        return a
    else:
        return b
    
print(max(int(input("num1 :")), int(input("num2 :"))))



วันพฤหัสบดีที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559

Flow Chart

Flow Chart


if...else

if else นั้นเป็นการกำหนดทางเลือกอื่น หากกรณีนั้นไม่ตรงกับเงื่อนไขที่อยู่ใน if ก็จะทำงานคำสั่งต่างๆ ที่อยู่ใน else แทน


else...if

else if เราจะใช้ในกรณีที่เรามีเงื่อนไขคำสั่งเยอะๆ ซึ่งแต่ละเงื่อนไขนั้นแตกต่างกัน else if นั้นเป็นสิ่งที่มาเสริมให้กับคำสั่ง if นั้นสมบูรณ์รัดกุมกับเงื่อนไขมากขึ้น

while loop



       โดยการใช้ while จะดูเงื่อนไขใน while โดยตรง ถ้าเกิดเข้าเงื่อนไขก็จะมีการวนลุปไปเรื่อยๆ


for loop


  การใช้ loop for นั้นมีรูปแบบการใช้ดังนี้
for(ค่าเริ่มต้น;เงื่อนไข;การเพิ่มค่า)
      ชุดคำสั่ง
ค่าเริ่มต้น คือ ค่าเริ่มต้นที่เราใช้กำหนดเพื่อใช้ในเงื่อนไข
เงื่อนไข คือ เงื่อนไขที่ใช้ในการเช็คว่าจะเข้าไปทำงานในชุดคำสั่งที่เรากำหนดไว้หรือไม่
การเพิ่มค่า คือค่าที่เราจะทำการกระทำ เพื่อเชคเงื่อนไข ตอนจบการทำงานในแต่ละ loop