Data type
คำสั่ง print : แสดงผลทางหน้าจอ
เราจะเห็นได้ว่าการแสดงผลทางหน้าจอนั้นสามารถทำได้หลายรูปแบบ
ทั้งตัวเลขจำนานเต็ม ตัวเลขทศนิยม ตัวอักษร หรือ รวมกันทั้งตัวอักษรและตัวเลข
Type: ประเภทข้อมูล
เมื่อใช้คำสั่ง type(ข้อมูล) ตามด้วยข้อมูล เราก็จะได้ประเภทของข้อมูลชนิดนั้นออกมา
การคำนวณ
ข้อจำกัดของ float
![](file:///C:/Users/KHUNTHOR/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image005.png)
float เก็บได้ค่าประมาณ ของจำจวนจริง
เราจะเห็นได้ว่า
เราสามารถนำเลขมายกกำลังได้ค่าจำนวนมากซึ่งมีความละเอียดพอสมควร
แต่ไม่ควรมากจนเกินไป แต่ถ้านำค่ามากหาร( / ) ก็จะทำให้ ค่าที่ได้จะเป็นค่าประมาณ
** หมายเหตุ :
int ในภาษา ( C, Java,....) มีขนาดจำกัด เช่น ในภาษา Java int
แทนจำนวนเต็มในช่วง
[-2147483648 - 2147483647]
[-2147483648 - 2147483647]
ลำดับการคำนวณก่อนไปหลัง ดังนี้
·
ในวงเล็บ
·
ยกกำลัง
·
ติดลบ
· * / //
%
·
บวก และ ลบ
·
ถ้าหากพบหลายตัวสำคัญเท่ากัน
ให้ทำตัวซ้ายไปขวา (ยกกำลัง ทำตัวขวาไปซ้าย)
|
2 * 5 + 9 / -(3 - 6) – 2**2**3
2 * 5 + 9 / -( -3 ) – 2**2**3
2 * 5 + 9 / -( -3 ) – 2**8
2 * 5 + 9 / -( -3 ) – 256
10 + 9 / 3 – 256
10 +
3.0 – 256
13.0 – 256
–243.0
|
เราสามรถเขียนข้อความได้หลายรูปแบบ ดัวตัวอย่างข้างต้น สามารถใช้ “ ครอบข้อความที่มี ‘ ได้ หรือ สามารถใช้ ‘ ครอบข้อความที่มี ” ได้ ซึ่งเราสามารถใช้ trip;e quotes ครอบข้อความที่มีทั้ง “ และ ‘ ได้ เช่น
สามรถใช้ + กับ * ใช้กับสตริงได้ บางกรณี เช่น
ตัวแปร (Variables) และการให้ค่าตัวแปร
ตัวแปรคือที่เก็บข้อมูล ต้องตั้งชื่อให้กับตัวแปร
r = 2 อ่านว่า ให้ r เก็บค่า 2 ด้านซ้ายของ = จึงต้องเป็นตัวแปร และ เป็นข้อมูล หากเขียน 2 = r จึงผิด
ตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า
มีตัวแปรชื่อว่า name เก็บค่า “py
” ไว้ แล้วนำ ตัวแปร name * 5
เก็บไว้ในตัวแปรชื่อ names เมื่อแสดงผลจะได้ค่าตามรูป
Operator เพิ่มเติม
กฎการตั้งชื่อตัวแปร
ประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข และ_(ขีดเส้นใต้) เท่านั้น
ห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข
ตัวอังกฤษใหญ่ไม่เหมือนเล็ก
ห้ามซ้ำกับ keywords ของภาษา
ข้อแนะนำ
o
ไม่ขึ้นต้นด้วย_(ขีดเส้นใต้)
o
ใช้ตัวอักษรอังกฤษตัวเลข
o
ชื่อควรสื่อวามหมายกับข้อมูลที่เก็บ
(name, area, speed, size,..)
o
ชื่อมีหลายคำรวมกันให้ใช้_คั่น (day_of_week, student_id,…)
ผิด 7zean class ohOH! Ed-edd-n-eddy
คำสงวน
ฟังก์ชั่นอื่นๆ
print()
|
type()
|
int()
|
float()
|
str()
|
input()
|
abs()
|
rang()
|
len()
|
bool()
|
round()
|
tuple()
|
list()
|
dict()
|
map()
|
min()
|
max()
|
pow()
|
sorted()
|
ฟังก์ชั่น ใน math module
math.exp(x)
|
|
math.log(x,base)
|
![]() |
math.sqrt(x)
|
![]() |
math.sin(x)
|
x in radians
|
math.cos(x)
|
x in radians
|
math.degree(x)
|
x in radians
|
math.radians(x)
|
x in degree
|
math.pi
|
π 3.141592…
|
math.e
|
e
2.718281…
|
เพิ่มเติม
ใช้
# เริ่ม comment ของบรรทัดจนถึงปลายบรรทัด
สองคำสั่งอยู่ในบรรทักเดียวกัน
แต่ต้องคั่นด้วย ;
ไม้จำเป็นต้องใส่ ; เพื่อจบคำสั่งในแต่ละบรรทัด
ใช้
\ ปิดบรรทัดเพือระบุว่าคำสั่งของบรรทัดนี้จะต่อบรรทัดถัดไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น